|
|
|
|
สภาพสังคมของตำบลป่าคา มีลักษณะเป็นสังคมเกษตรกรรมและเลี้ยงสัตว์ ประชาชนอยู่ร่วมกันด้วยความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ อยู่อย่างเรียบง่ายตามแบบสังคมของชาวชนบท มีวัด
เป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชน |
|
|
|
|

 |
วัด |
จำนวน |
8 |
แห่ง |
|
|
|
|
|

 |
ป้อมยามตำรวจ |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
|
|
|
|
|

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
จำนวน |
3 |
แห่ง |

 |
โรงเรียนประถมศึกษา |
จำนวน |
5 |
แห่ง |

 |
โรงเรียนมัธยมศึกษา |
จำนวน |
2 |
แห่ง |

 |
ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน |
จำนวน |
7 |
แห่ง |
|
|
|
|
|

 |
สถานีอนามัยประจำตำบล จำนวน 1 แห่ง (สถานีอนามัยตำบลป่าคา) |
|

 |
สถานีอนามัยประจำหมู่บ้าน จำนวน 1 แห่ง (สถานีอนามัยบ้านสบขุ่น) |
|

 |
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำร้อยละ100 |
|
|
|
|
|
|
|
ศิลปวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น ที่มีความเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง รวมทั้งภาษาพูด ประเพณีท้องถิ่นที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ได้แก่ ประเพณีแข่งเรือยาว ซึ่งตำบลป่าคามีเรือแข่งขัน
เป็นของตนเองเกือบทุกหมู่บ้าน ประเพณีบวงสรวงเจ้าหลวงเมืองล้า ที่บ้านหนองบัว เป็นงานบุญชาวไทลื้อซึ่งอพยพมาจากแคว้นสิบสองปันนา มณฑลยูนาน ประเทศจีน ประเพณีที่จัดขึ้น
ทุก 3 ปี จะจัดขึ้นในราวเดือนธันวาคมในการทำพิธีจะมีการเชิญดวงวิญญาณของเจ้าหลวงเมืองล้าซึ่งชาวไทลื้อนับถือมาบวงสรวง และมีพิธีกรรมอันเก่าแก่ซึ่งชนรุ่นปัจจุบันได้รักษาไว้
ซึ่งหาดูได้ยาก |
|
|